Science & Technology

NASA GLOBE Observer App ‒ Mosquito Habitat Mapper App for help dengue and Zika prevention and control

Walailak Innovation 09, December 2018

 

NASA GLOBE Observer App ‒ Mosquito Habitat Mapper App for help dengue and Zika prevention and control

 

The GLOBE Mosquito Habitat Mapper App aims to enlist thousands of students, teachers, and citizen scientists to map, count and identify mosquito larvae found in breeding sites to help identify areas where disease vectors can emerge. Students and teachers will work with scientists and public health officials to collect mosquito larvae samples in 22 Zika affected countries in three regions (Asia-Pacific, Africa and NENA). We will encourage STEM education and build networks with public health officials to better control mosquitos and reduce mosquito-borne disease such as dengue, malaria and Zika. 
 
GLOBE Mosquito Habitat Mapper App ได้ออกแบบมาเพื่อให้นักเรียน ครู และ บุคคลทั่วไปที่สนใจวิทยาศาสตร์ ได้ทำแผนที่ นับจำนวนลูกน้ำยุง และ จำแนกชนิดยุงที่พบในภาชนะที่ยุงวางไข่ เพื่อช่วยในการจำแนกพื้นที่ที่น่าจะมียุงซึ่งเป็นพาหนะในการนำโรค นักเรียนและครูจะทำงานร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการเก็บตัวอย่างลูกน้ำยุงในประเทศที่มีโรคซิก้าระบาด 22 ประเทศ ใน 3 ภูมิภาค (เอเชียแปซิฟิก แอฟริกา และ ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ) เราจะกระตุ้นการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มและสร้างเครือข่ายกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อควบคุมการระบาดของยุงและลดโอกาสการระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะ อาทิ ไข้เลือดออก มาลาเรีย ซิก้า
 
 
Figure 1: MHM App
 
The GLOBE Mosquito Habitat Mapper App can be easily used with four data collection steps: (1) locate, (2) sample and count mosquito larvae, (3) identify mosquito larvae and (4) decommission breeding sites. Step 1 starts with open your GLOBE Observer MHM app on our cellphone. The app will automatically download the date, time an latitude/longitude of your location. Step 2 is about sample and count mosquito larvae. You use your sampling equipment to obtain a water sample containing mosquito larvae, count the number of larvae in your sample. Step 3 is about taking photograph and identifies larvae. We use a spoon to isolate one larva on the plastic plate; you attach a clip-on microscope to your cellphone camera, line up the lens and take photos of larvae. Step 4 is about elimination of container breeding sites by tipping the container and tossing the water. 
 
The GLOBE Mosquito Habitat Mapper App สามารถใช้งานได้ง่ายเพียง 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) บอกตำแหน่ง (2) เก็บตัวอย่างและนับจำนวนลูกน้ำ (3) จำแนกลูกน้ำ และ (4) กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ขั้นตอนที่ 1 เริ่มต้นด้วยการเปิดแอฟ GLOBE Observer MHM บนมือถือ แอฟจะดาวน์โหลดวันที่ เวลา และพิกัดละติจูดและลองจิจูดของตำแหน่งที่ท่านอยู่ ขั้นตอนที่ 2 เป็นการเก็บตัวอย่างและนับจำนวนลูกน้ำ ให้ใช้เครื่องมือในการเก็บตัวอย่างน้ำที่มีลูกน้ำยุงอยู่ นับจำนวนลูกน้ำยุงทั้งหมดในน้ำตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 3 เป็นการถ่ายภาพและจำแนกชนิดของลูกน้ำยุง เราใช้ช้อนตักลูกน้ำมาวางบนจานพลาสติก 1 ตัว นำกล้องจุลทรรศน์แบบหนีบไปหนีบกับกล้องถ่ายรูปของโทรศัพท์มือถือ และถ่ายภาพลูกน้ำยุง ขั้นตอนที่ 4 เป็นการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงโดยการเทน้ำในภาชนะเก็บน้ำออก
 
Figure 2: MHM data show locations on the map where mosquito larvae reported
 
The GLOBE Mosquito Habitat Mapper App is a NASA-sponsored project which can be used to combating mosquito borne diseases such as dengue, Zika and malaria. The goals of this MHM app are to see increased mosquito awareness and decreased mosquito-borne disease risk through (1) scientific data collection and analysis, (2) empowerment of actively reducing mosquito risk area by dumping water containers and (3) education young generations and citizen of science about breeding sites of Aedes aegypti and Ae. albopictus which are major vectors carrying dengue and Zika viruses.
 
 
Figure 3:  The GLOBE Mosquito Habitat Mapper App and its four data collection steps. 
 
The GLOBE Mosquito Habitat Mapper App เป็นโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากองค์การนาซ่า ซึ่งสามารถนำไปต่อสู้กับโรคที่มียุงเป็นพาหะ อาทิ ไข้เลือดออก ซิก้า และมาลาเรีย เป้าหมายของแอฟ MHA คือการสร้างความตระหนักเกี่ยวกับยุงให้มากขึ้น และลดความเสี่ยงของโรคที่มียุงเป็นพาหะผ่าน (1) การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ (2) การเพิ่มขีดความสามารถในการลดพื้นที่เสี่ยงต่อโรคที่มียุงเป็นพาหะโดยการกำจัดน้ำในภาชนะ และ (3) การให้การศึกษาแก่เยาวชนและบุคคลทั่วไปที่สนใจวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบ้าน และยุงลายสวน ซึ่งเป็นพาหะหลักในการนำโรคไข้เลือดออกและซิก้า
 
Figure 4: Aedes aegypti larvae
 
Inventors:
 
School of Science, Walailak University, Thasala, Nakhon Si Thammarat 80161
In collaboration with Assoc. Prof. Dr. Becky Boger, Dr. Rusty Low, Prof. Dr. Elena Sparrow and the GLOBE Program
 
Note:
This study originated from the work of four Ph.D. Students (Asst. Prof. Dr. Suppawan Promprao, Asst. Prof. Dr. Siriwan Wongkoon, Dr. Waroporn Preechaporn and Anantanit Chumsri (PhD. Candidate) graduated in the Computational Science Graduate Program, School of Science, Walailak University
 
More informationCOE for Ecoinformatics
 

Facebookwufrontovation

Related Link: 


TOP